แบบฝึกหัด การจัดเรียงลำดับข้อมูล ด้วย ORDER BY
จากตารางข้อมูล products ให้คุณทำการดึงข้อมูล ออกมาแสดง และทำการจัดเรียงข้อมูลด้วยคอลัมน์ productLine แบบน้อยไปมาก และ quantityInStock แบบมากไปน้อย
จากตารางข้อมูล products ให้คุณทำการดึงข้อมูล ออกมาแสดง และทำการจัดเรียงข้อมูลด้วยคอลัมน์ productLine แบบน้อยไปมาก และ quantityInStock แบบมากไปน้อย
การการเรียงลำดับข้อมูลจาก Database สามารถทำใด้โดยใช้คำสั่ง ORDER BY
ตัวอย่างโครงสร้างคำสั่ง SELECT * FROM customers ORDER BY country, customerNumber ASC
แปล Code เป็นความเข้าใจคือ เลือก ข้อมูลทุกคอลัมน์ จาก ตาราง customers จัดเรียงลำดับข้อมูล country และจัดเรียง customerNumber ในแต่ละ country
ASC จัดเรียงจากน้อยไปมาก
DESC จัดเรียงจากมากไปน้อย
หากไม่ระบุรูปแบบการจัดเรียง จะถูกกำหนดโดยอัตโนมัติเป็น ASC
รูปแบบข้อมูลที่ได้
ทดลองทำแบบฝึกหัดด้วยนะครับ
จากตารางข้อมูล products ให้คุณทำการดึงข้อมูล เฉพาะคอลัมน์ productCode, productName, productLine, productScale, productVendor ออกมาแสดง
แบบฝึกหัดนี้ เราใด้จัดเตรียม ตารางข้อมูล products โดยให้คุณทำการดึงข้อมูลทุก คอลัมน์ ออกมาแสดง
การดึงข้อมูลจาก Database สามารถทำใด้โดยใช้คำสั่ง Select
ตัวอย่างโครงสร้างคำสั่ง SELECT * FROM customers
แปล Code เป็นความเข้าใจคือ เลือก ข้อมูลทุกคอลัมน์ จาก ตาราง customers
เดต้าเบสที่ใช้งานกันส่วนใหญ่จะมีการเก็บข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ในบทความนี้จะแสดงตัวอย่างและรูปแบบการประยุกต์ การเก็บข้อมูลเชิงสัมพันธ์
IF ใช้สำหรับการกำหนดเงื่อนไข เช่น ถ้าเงื่อนไขถูกต้อง ทำสิ่งนี้ ถ้าเงื่อนไขไม่ถูกต้อง ให้ทำอย่างอื่น
เช่น ถ้า X น้อยกว่า Y ใช้ค่า Y ถ้าไม่ใช่ ใช้ค่า X ใช้ฟังก์ชัน IF จะได้เป็น =IF(X<Y, Y, X)
1.ใช้ IF เพื่อตรวจสอบปริมาณ Stock
เงื่อนไข ถ้า Stock มากกว่า 400 ให้แสดง Height ถ้าไม่ใช่ ใช้ค่า Low
MATCH ฟังก์ชันที่ใช้ค้นหา ลำดับแถวของข้อมูลที่ต้องการ จาก Range ของข้อมูลตามที่กำหนด ตัวอย่าง
=MATCH(A1, B:C, 0)
* A1 คือค่าที่ใช้ค้นหา
* B:B คือ Range ข้อมูลที่ทำการค้นหา(คอลัมน์ B) ควรเลือกแค่ 1 คอลัมน์
* -1/0/1 คือการกำหนดรูปแบบการค้นหา
-1 = ข้อมูลที่น้อยกว่า
0 = ข้อมูลตรงกันทั้งหมด
1 = ข้อมูลที่มากกว่า
VLOOKUP ฟังก์ชันที่ใช้ค้นหาข้อมูลที่ต้องการ จาก Range ของข้อมูลตามที่กำหนด ตัวอย่าง
=VLOOKUP(I3, D3:G6, 4, FALSE)
* I3 คือค่าที่ใช้ค้นหา
* D3:G6 คือ Range ข้อมูลที่ทำการค้นหา รวมถึงคอลัมน์ที่ต้องการผลลัพธ์ด้วย
* 4 คือลำดับคอลัมน์ของข้อมูลที่นำกลับมาแสดง (D คือคอลัมน์ที่ 1 ส่วน G คือคอลัมน์ที่ 4)
* TRUE/FALSE คือการกำหนดรูปแบบการค้นหา
TRUE = ข้อมูลตรงกันแค่บางส่วน
FALSE = ข้อมูลตรงกันทั้งหมด
ตัวอย่างการใช้ฟังก์ชัน MAX เพื่อหาจำนวนของ Stock ที่มากสุด
วิธี ใช้ฟังก์ชัน
5.1. สูตร ต้องเริ่มด้วยเครื่องหมาย =
5.2. เขียนชื่อฟังก์ชัน MAX(
5.3. Range ของ cell ที่ต้องการคำนวน สามารถพิมพ์หรือใช้เมาส์ลากใน cell ที่ต้องการ
5.4. อย่าลืมใส่ ) ต่อท้าย
นำมาเขียนรวมกัน